การลดปริมาณกรดอะมิโนไลซีนและระดับโปรตีนในอาหารสุกรระยะท้ายส่งผลให้มีการสะสมไขมันแทรกในเนื้อสันนอก

24 สิงหาคม 2565

คณะเกษตรศาสตร์

มีการศึกษาจำนวนมากถึงการลดปริมาณกรดอะมิโนไลซีนและระดับโปรตีนในอาหารสุกรระยะท้ายส่งผลให้มีการสะสมไขมันแทรกในเนื้อสันนอก (intramuscular fat) มากขึ้น หากมีการใช้ร่วมกับการให้กากงาขี้ม้อนที่มีแหล่งของกรดไขมันโอเมก้า 3 ในอาหารสุกร ส่งผลให้คุณภาพของกรดไขมันในเนื้อมีคุณภาพดีขึ้น จากผลของการศึกษานี้ พบว่าในเนื้อสุกรมีปริมาณ alpha linoleic acid (ALA) กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนในเนื้อสุกรสูงขึ้น เป็นแนวทางในการผลิตเนื้อสุกรที่มีโอเมก้า 3 สูงและยกระดับมูลค่าของเนื้อสุกรต่อไป
ผลงานวิจัยได้รับตีพิมพ์ในวารสาร Foods
ติดตามอ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC8997464/

#คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ
#CMU #ChiangMaiUniversity #มช #มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยชั้นนำที่รับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาที่ยั่งยืน #CMUBGCmodel #CMUSDGs #CMUSDG1 #CMUSDG2 #CMUSDG3 #CMUSDG12
แกลลอรี่