CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
วิศวฯ มช. ต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุมสัญจรเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านระบบขนส่งทางราง
26 กรกฎาคม 2566
คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำโดยรองคณบดี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชวาลย์ ชัยชนะ
และประธานสาขาโยธารางภายใต้ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญระบบขนส่งทางราง
รองศาสตราจารย์ ดร.พีรพงศ์ จิตเสงี่ยม
ให้การต้อนรับนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยทั่วประเทศและผู้แทนจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) และสถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) นำโดยนายกสมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิโยรส พรหมดิเรก
เข้าร่วม “การประชุมสัญจรเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านระบบขนส่งทางราง” ในวันที่ 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 09.30 – 12.00 น. ณ หอเกียรติยศ ชั้น 6 อาคาร 30 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เเละเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญระบบขนส่งทางรางโดยสมาคมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (สมาคม ทปอ.) นั้น มีภารกิจในการสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือระบบขนส่งทางราง ร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาที่มีความพร้อมในการพัฒนางานวิจัยด้านระบบขนส่งทางราง กำหนดโจทย์วิจัยและเป้าหมายร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เครื่องมือการดำเนินการ ตลอดจนนักวิจัยหรือบุคลากรที่มีศักยภาพในระหว่างหน่วยงานต่างๆ เพื่อเชื่อมโยงและพัฒนางานวิจัย นวัตกรรมด้านระบบขนส่งทางรางและการพัฒนากำลังคนทักษะสูงในประเด็นระบบขนส่งทางราง โดยในปัจจุบันมีนักวิจัยเข้าร่วมมากกว่า 60 คนจาก 20 มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยี
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: